พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
#เหรียญปางอวโลก...
#เหรียญปางอวโลกิเตศวรขี่หัวมังกรนาคหลังยันต์แปดทิศ
#เหรียญปางอวโลกิเตศวรขี่หัวมังกรนาคหลังยันต์แปดทิศ
(หลงโถวกวนอิน)รูปลักษณะ : ทรงประทับบนหัวมังกร พระหัตถ์ขวาทรงถือกิ่งหลิ่ว พระหัตถ์ซ้ายจับผ้าขวาที่ทรงครอง ทรงครองผ้าสีขาว
เทียบในสมันตมุข : “พระอวโลกิเตศวรทรงนิรมาณกายเป็นรูปของเทวดาและนาคเพื่อแสดงธรรม แก่ผู้ที่สมควรโปรดด้วยรูปเทวดาและนาค”
อธิบาย : คำว่า “หลง” (龍) ในคัมภีร์พุทธหมายถึงนาค ในคัมภีร์สัทธรรมสติปัฏฐานสี่ ผูกที่ ๑๘ บทที่ว่าด้วยเรื่องของสัตว์เดรัจฉานกล่าวว่า (正法念處經卷十八畜生品) นาคราชจัดเป็นส่วนหนึ่งของเดรัจฉานคติ เนื่องจากเป็นสัตว์ที่ไม่ฉลาดไม่มีปัญญา....ยันต์แปดทิศ สัญลักษณ์สำคัญอีกอย่างหนึ่งของชาวจีนที่เรารู้จักกันในชื่อ "ยันต์แปดทิศ" หรือ "โป๊ย ข่วย" (ปากั้วถู) ซึ่งแพร่หลายอยู่ในบ้านเรา โดยบางคนนำไปติดไว้หน้าบ้าน หรือทางสามแพร่ง ในลักษณะของการแก้ "ฮวงจุ้ย" โดยที่อาจจะยังไม่ทราบรายละเอียดนัก
"โป๊ยข่วย" หรือ "ปากั้วถู" เป็นผังสัญลักษณ์แห่งฟ้าและดินในลัทธิเต๋า มีต้นกำเนิดในคัมภีร์โบราณ "อี้จิง" ซึ่งมีอายุกว่า 5,000 ปีล่วงมาแล้ว
"อี้" หมายถึงความเปลี่ยนแปลงของจักรวาล อาจถอดตัวอักษรได้เป็นพระจันทร์กับพระอาทิตย์ เราเรียกกันว่า "หยินกับหยาง" หรือความมืดความสว่าง ความร้อนความเย็น หญิงกับชาย หรือฟ้ากับดิน
ต้นกำเนิดของอี้จิงเกิดขึ้นในสมัยจักร พรรดิอวี่ บ้านเมืองเกิดอุทกภัยร้ายแรง ปรากฏมีมังกรแบก "ภาพเหอถู" ผุดขึ้นมาจากแม่น้ำฮวงโห และมีเต่าวิเศษคาบ "ตำราลิ่วซู" ผุดขึ้นมาจากลำน้ำลั่วสุ่ย องค์จักรพรรดิได้นำแผนภาพและตำรามาประกอบกัน ปรับเปลี่ยนภูมิลักษณ์ของฟ้าดิน แก้ปัญหาขุนเขา ลำน้ำ ขจัดปัดเป่าอุทกภัยให้กับประชาชนได้สำเร็จ จึงเกิดเป็น "ตำราเหลียงซาน" ที่รวมความพิสดารอันมิอาจล่วงรู้และเปลี่ยนแปลงฟ้าดินสืบทอดกันต่อมา และเรียกในชื่อ "โจว อี้" และกลายเป็นคัมภีร์ "อี้จิง" ในที่สุด
ดังนั้น แผ่นภาพยันต์แปดทิศจึงเป็นผังความเปลี่ยนแปลงของจักรวาล โดยเชื่อว่าองค์จักรพรรดิจีนได้สังเกตลวดลายแผนผังบนหลังกระดองเต่าวิเศษ ผังดังกล่าวจึงสามารถใช้แก้ไขความบกพร่องของภูมิประเทศ และความเป็นไปในจักรวาล และยังสามารถใช้ทำนายทายทักความสัมพันธ์ของฟ้า ดิน และมนุษย์ได้ แผ่นยันต์โป๊ยข่วย หรือยันต์แปดทิศ ที่พบเห็นจะมีสัญลักษณ์ของหยิน-หยางอยู่ตรงกลาง และมีเส้นขีดล้อมรอบแปดทิศ ขีดเป็นรอยประ (--) และขีดเต็ม (-) เรียงจากบนลงล่างทิศละ 3 ชั้น "ขีดประ" หมายถึงหยิน "ขีดเต็ม" หมายถึงหยาง "ขีดบน" แทนฟ้า "ขีดกลาง" แทนมนุษย์ "ขีดล่าง" แทนดิน รวมกับธาตุทั้ง 5 อันได้แก่ ดิน น้ำ ทอง ไม้ ไฟ
#เฉียน คือ ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตำแหน่งฟ้า หมายถึง พ่อ และการสร้างสรรค์
#คุน คือ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตำแหน่งแห่งดิน หมายถึง แม่ และการยอมรับ
#เจิ้น คือ ทิศตะวันออก ตำแหน่งสายฟ้า หมายถึง ลูกชายคนโต และการตื่นตัว
#ซวิ่น คือ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตำแหน่งลม หมายถึง ลูกสาวคนโต และความอ่อนโยน
#ตุ้ย คือ ทิศตะวันตก ตำแหน่งทะเลสาบ หมายถึง ลูกสาวคนเล็ก และความร่าเริง
#เกิ้น คือ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตำแหน่งภูเขา หมายถึง ลูกชายคนเล็ก และความสงบ
#ขั่น คือ ทิศเหนือ ตำแหน่งน้ำ หมายถึง ลูกชายคนกลาง และความลึกลับ
#หลี คือ ทิศใต้ ตำแหน่งไฟ หมายถึง ลูกสาวคนกลาง และการติดตาม ด้วยหลักแห่งความสัมพันธ์ของจักรวาลและการเปลี่ยนแปลงของฟ้าดิน ทำให้ "ยันต์โป๊ยข่วย" สามารถช่วยเปลี่ยนแปลงสิ่งต่าง ๆ จากไม่มีเป็นมี จากบวกเป็นลบ จากร้ายกลายเป็นดี จากทุกข์กลายเป็นสุข นับเป็นแผ่นภาพสำคัญตามความเชื่อแห่งลัทธิเต๋า ที่กลายเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางของพุทธศาสนิก ชนคนไทยครับผม....สนใจอยากได้ไว้บูชาโทรถามโจโฉครับ...089-9043162
ผู้เข้าชม
367 ครั้ง
ราคา
-
สถานะ
มาใหม่
โดย
ชื่อร้าน
โจโฉพระเครื่อง
ร้านค้า
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
-
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกรุงไทย / 121-1-46621-3

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
jochoกรัญระยองมนต์เมืองจันท์พระเครื่องโคกมนdigitalplusLe29Amulet
บารมีครูบาชัยวงศ์chaithawatเปียโนbuachomphutumlawyerep8600
fuchoo18tangmoBAINGERNภูมิ IRศรีสมเด็จErawan
ZomlazzaliMuthitaแมวดำ99moshy2499เจริญสุขเอ๊กซ์ ด่านขุนทด
termboonณัฐฐ์ เสพศิลป์Tum Khoracha TotoTatosurat01Fook26121999

ผู้เข้าชมขณะนี้ 1656 คน

เพิ่มข้อมูล

#เหรียญปางอวโลกิเตศวรขี่หัวมังกรนาคหลังยันต์แปดทิศ




  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
#เหรียญปางอวโลกิเตศวรขี่หัวมังกรนาคหลังยันต์แปดทิศ
รายละเอียด
#เหรียญปางอวโลกิเตศวรขี่หัวมังกรนาคหลังยันต์แปดทิศ
(หลงโถวกวนอิน)รูปลักษณะ : ทรงประทับบนหัวมังกร พระหัตถ์ขวาทรงถือกิ่งหลิ่ว พระหัตถ์ซ้ายจับผ้าขวาที่ทรงครอง ทรงครองผ้าสีขาว
เทียบในสมันตมุข : “พระอวโลกิเตศวรทรงนิรมาณกายเป็นรูปของเทวดาและนาคเพื่อแสดงธรรม แก่ผู้ที่สมควรโปรดด้วยรูปเทวดาและนาค”
อธิบาย : คำว่า “หลง” (龍) ในคัมภีร์พุทธหมายถึงนาค ในคัมภีร์สัทธรรมสติปัฏฐานสี่ ผูกที่ ๑๘ บทที่ว่าด้วยเรื่องของสัตว์เดรัจฉานกล่าวว่า (正法念處經卷十八畜生品) นาคราชจัดเป็นส่วนหนึ่งของเดรัจฉานคติ เนื่องจากเป็นสัตว์ที่ไม่ฉลาดไม่มีปัญญา....ยันต์แปดทิศ สัญลักษณ์สำคัญอีกอย่างหนึ่งของชาวจีนที่เรารู้จักกันในชื่อ "ยันต์แปดทิศ" หรือ "โป๊ย ข่วย" (ปากั้วถู) ซึ่งแพร่หลายอยู่ในบ้านเรา โดยบางคนนำไปติดไว้หน้าบ้าน หรือทางสามแพร่ง ในลักษณะของการแก้ "ฮวงจุ้ย" โดยที่อาจจะยังไม่ทราบรายละเอียดนัก
"โป๊ยข่วย" หรือ "ปากั้วถู" เป็นผังสัญลักษณ์แห่งฟ้าและดินในลัทธิเต๋า มีต้นกำเนิดในคัมภีร์โบราณ "อี้จิง" ซึ่งมีอายุกว่า 5,000 ปีล่วงมาแล้ว
"อี้" หมายถึงความเปลี่ยนแปลงของจักรวาล อาจถอดตัวอักษรได้เป็นพระจันทร์กับพระอาทิตย์ เราเรียกกันว่า "หยินกับหยาง" หรือความมืดความสว่าง ความร้อนความเย็น หญิงกับชาย หรือฟ้ากับดิน
ต้นกำเนิดของอี้จิงเกิดขึ้นในสมัยจักร พรรดิอวี่ บ้านเมืองเกิดอุทกภัยร้ายแรง ปรากฏมีมังกรแบก "ภาพเหอถู" ผุดขึ้นมาจากแม่น้ำฮวงโห และมีเต่าวิเศษคาบ "ตำราลิ่วซู" ผุดขึ้นมาจากลำน้ำลั่วสุ่ย องค์จักรพรรดิได้นำแผนภาพและตำรามาประกอบกัน ปรับเปลี่ยนภูมิลักษณ์ของฟ้าดิน แก้ปัญหาขุนเขา ลำน้ำ ขจัดปัดเป่าอุทกภัยให้กับประชาชนได้สำเร็จ จึงเกิดเป็น "ตำราเหลียงซาน" ที่รวมความพิสดารอันมิอาจล่วงรู้และเปลี่ยนแปลงฟ้าดินสืบทอดกันต่อมา และเรียกในชื่อ "โจว อี้" และกลายเป็นคัมภีร์ "อี้จิง" ในที่สุด
ดังนั้น แผ่นภาพยันต์แปดทิศจึงเป็นผังความเปลี่ยนแปลงของจักรวาล โดยเชื่อว่าองค์จักรพรรดิจีนได้สังเกตลวดลายแผนผังบนหลังกระดองเต่าวิเศษ ผังดังกล่าวจึงสามารถใช้แก้ไขความบกพร่องของภูมิประเทศ และความเป็นไปในจักรวาล และยังสามารถใช้ทำนายทายทักความสัมพันธ์ของฟ้า ดิน และมนุษย์ได้ แผ่นยันต์โป๊ยข่วย หรือยันต์แปดทิศ ที่พบเห็นจะมีสัญลักษณ์ของหยิน-หยางอยู่ตรงกลาง และมีเส้นขีดล้อมรอบแปดทิศ ขีดเป็นรอยประ (--) และขีดเต็ม (-) เรียงจากบนลงล่างทิศละ 3 ชั้น "ขีดประ" หมายถึงหยิน "ขีดเต็ม" หมายถึงหยาง "ขีดบน" แทนฟ้า "ขีดกลาง" แทนมนุษย์ "ขีดล่าง" แทนดิน รวมกับธาตุทั้ง 5 อันได้แก่ ดิน น้ำ ทอง ไม้ ไฟ
#เฉียน คือ ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตำแหน่งฟ้า หมายถึง พ่อ และการสร้างสรรค์
#คุน คือ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตำแหน่งแห่งดิน หมายถึง แม่ และการยอมรับ
#เจิ้น คือ ทิศตะวันออก ตำแหน่งสายฟ้า หมายถึง ลูกชายคนโต และการตื่นตัว
#ซวิ่น คือ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตำแหน่งลม หมายถึง ลูกสาวคนโต และความอ่อนโยน
#ตุ้ย คือ ทิศตะวันตก ตำแหน่งทะเลสาบ หมายถึง ลูกสาวคนเล็ก และความร่าเริง
#เกิ้น คือ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตำแหน่งภูเขา หมายถึง ลูกชายคนเล็ก และความสงบ
#ขั่น คือ ทิศเหนือ ตำแหน่งน้ำ หมายถึง ลูกชายคนกลาง และความลึกลับ
#หลี คือ ทิศใต้ ตำแหน่งไฟ หมายถึง ลูกสาวคนกลาง และการติดตาม ด้วยหลักแห่งความสัมพันธ์ของจักรวาลและการเปลี่ยนแปลงของฟ้าดิน ทำให้ "ยันต์โป๊ยข่วย" สามารถช่วยเปลี่ยนแปลงสิ่งต่าง ๆ จากไม่มีเป็นมี จากบวกเป็นลบ จากร้ายกลายเป็นดี จากทุกข์กลายเป็นสุข นับเป็นแผ่นภาพสำคัญตามความเชื่อแห่งลัทธิเต๋า ที่กลายเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางของพุทธศาสนิก ชนคนไทยครับผม....สนใจอยากได้ไว้บูชาโทรถามโจโฉครับ...089-9043162
ราคาปัจจุบัน
-
จำนวนผู้เข้าชม
368 ครั้ง
สถานะ
มาใหม่
โดย
ชื่อร้าน
โจโฉพระเครื่อง
URL
เบอร์โทรศัพท์
0899043162
ID LINE
-
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกรุงไทย / 121-1-46621-3




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี